ศูนย์รวมทิป เทคนิคการใช้งานระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ที่จะช่วยให้งานของคุณง่ายขึ้น อย่าลืมแวะเข้ามาอัพเดตได้ทุกวัน
วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วิธีการหา JAVA Path บน Ubuntu
ลิงค์ส่วนมากจะอยู่ใน /usr/bin/
วิธีการหา
แสดงรายละเอียดของลิงค์ที่ชื่อว่า java
เปิด terminal จากนั้นพิมพ์
$ls -l /usr/bin/java
lrwxrwxrwx 1 root root 22 2008-12-07 22:16 /usr/bin/java -> /etc/alternatives/java
ก็จะแสดงรายละเอียดประมาณนี้ ข้อความหลังจากเครื่องหมาย -> แสดงว่าไฟล์ java ใน /usr/bin/ นั้นลิงค์ไปที่ /etc/alternatives/java
เมื่อรู้เช่นนี้เราก็ ดูรายละเอียดของ /etc/alternatives/java อีกที
$ls -l /etc/alternatives/java
lrwxrwxrwx 1 root root 40 2008-12-07 22:34 /etc/alternatives/java -> /usr/lib/jvm/java-6-openjdk/jre/bin/java
ก็จะแสดงรายละเอียดของ java path
javapath คือ /usr/lib/jvm/java-6-openjdk/jre/bin/java
Restore Grub bootloader in Ubuntu 9.10
วิธีการ Restore GRUB bootloader
1. Boot Ubuntu จาก CD/USB flash driver ที่เราใช้ในการติดตั้ง Ubuntu
2. เปิด terminal ขึ้นมา (อาจใช้วิธีนี้ Alt+F2 type "gnome-terminal" แล้ว Enter)
3. พิมพ์
sudo fdisk -l
4. จากนั้นดูว่า Ubuntu ถูกติดตั้งไว้ที่ไหน /dev/sdxyโดยที่x หมายถึง drive ของคุณ และ y หมายถึง linux partition
ตัวอย่างนะครับ Linux ของผมติดตั้งไว้ที่ /dev/sda6
5. เมื่อรู้แล้วว่า linux ถูกติดตั้งไว้ที่ไหน ก็มาเริ่มกันเลย
6. พิมพ์
sudo mount /dev/sda6 /mnt
ใน terminal
7. ขั้นตอนนี้เป็นการติดตั้ง GRUB อีกครั้ง โดยคำสั่ง
sudo grub-install --root-directory=/mnt /dev/sdx
โดย x หมายถึง drive ของคุณ ในกรณีของผมเป็น /dev/sda
8. ทำการ unmount /mnt
sudo umount /mnt
การกำหนด ip static ใน Linux
=> Host IP address 192.168.1.100 ไอพีเครื่องที่เราจะตั้ง
=> Netmask: 255.255.255.0
=> Network ID: 192.168.1.0
=> Broadcast IP: 192.168.1.255
=> Gateway/Router IP: 192.168.1.254 ไอพีเครื่องที่ต้องการออกอินเตอร์เนต
=> DNS Server: 192.168.1.254
ขั้นตอนแรกเราต้องเข้าไปแก้ไขไฟล์ interfaces
$ sudo nano /etc/network/interfaces
เมื่อเปิดไฟล์ขึ้นมา หากเจอข้อความนี้
iface eth0 inet dhcp
ให้ทำการแก้ไขให้เป็น
iface eth0 inet static
address 192.168.1.100
netmask 255.255.255.0
network 192.168.1.0
broadcast 192.168.1.255
gateway 192.168.1.254
บันทึกไฟล์แล้วทำการ รีสตาร์ ( ไม่ใช่รีสตาร์คอมนะครับ )
$ sudo /etc/init.d/networking restart
ต่อมาทำการ config DNS SERVER
เปิดไฟล์นี่เพื่อทำการแก้ไข
$ sudo vi /etc/resolv.conf
เพิ่มข้อมูลของ DNS ลงไป
search myisp.com
nameserver 192.168.1.254
nameserver 202.54.1.20
nameserver 202.54.1.30
บันทึกไฟล์
ดูรายละเอียดของ network
$ ifconfig -a
ดูแต่ละอัน
$ ifconfig eth0
วิธีตั้งค่า apt-get ผ่าน proxy Linux Ubuntu
ซึ่งอยู่ใน /etc/apt/
ใช้ editor ด้วใดก็ได้ เช่น
$sudo gedit /etc/apt/apt.conf
จากนั้นให้เพิ่มสองบรรทัดต่อไปนี้โดยแทนค่าต่างๆให้สมบูรณ์
Acquire::http::Proxy "http://username:password@proxy:port";
Acquire::ftp::Proxy "ftp://username:password@proxy:port";
เซฟไฟล์แล้วลอง
$sudo apt-get update
เท่านี้ก็จะสามารถ apt-get ได้แล้วล่ะครับ
ดาวโหลดบิท ด้วยโปรแกรม Vuze Linux Ubuntu
ในที่นี้ใช้ vuze version 4.3(Linux) >> ดาวโหลดไฟล์
เมื่อเราได้ไฟล์มาเรียบร้อยแล้ว เปิด terminal ขึ้นมาเข้าไปใน path ที่เก็บไฟลล์อยู่
ระบบของเราต้อง support Java ด้วย
ตรวจสอบว่าเครื่องมี java version อะไร
$java -version
ในการ ติดตั้ง JAVA
$sudo aptitude install sun-java6-bin
- จากนั้นทำการแตกไฟล์ออกด้วยคำสั่ง
$tar xvjf Vuze_installer.tar.bz2
จากนั้นให้เราเข้าไปใน Folder
$cd vuze
$gedit azureus
เมื่อเปิดไฟล์ขึ้นมาแล้วให้หาข้อความบรรทัดนี้ในไฟล์
#PROGRAM_DIR=”/home/username/apps/azureus” # use full path to Azureus bin dir
เมื่อหาเจอแล้วให้ทำการ replace ด้วยข้อความข้างล่าง
PROGRAM_DIR=”/usr/share/vuze”
*ให้นำเครื่องหมาย # ออกหากมีเครื่องหมายแสดงว่าจะไม่ทำการ Process ข้อความบรรทัดนั้น
บันทึกไฟล์แล้วก็ปิดตัว Text editor
ต่อจากนี้เราจะทำการย้ายไฟล์ต่างๆให้เข้าไปอยู่ในระบบด้วย Terminal
เริ่มด้วยการย้ายไฟล์ azureus ไปไว้ที่ /usr/bin/
$sudo mv azureus /usr/bin/azureus
และอีกไฟล์ก็คือ vuze
$sudo mv vuze /usr/bin/vuze
จากนั้นให้ออกมาที่ directory ที่เก็บ folder vuze
$cd ..
และย้าย folder vuze ไปไว้ที่ /usr/share/
$sudo mv vuze /usr/share/vuze
จากนั้นจะระบุ permissions ของ folder /usr/shaer/vuze ให้โปรแกรมสามารถอัพเดตตัวเองได้
$sudo chown -R 777 /usr/share/vuze
เท่านี้ก็เสร็จการติดตั้ง ทดสอบรันโดยพิมพ์ ชื่อโปรแกรม ใน terminal
$vuze
หรือ
$azureus
นอกจากนั้นก็สามารถเพิ่มให้ main menu ได้อีกด้วย
ได้ให้ไปที่ System > Main Menu >internet >New Item
ให้เลือก
Type : Application
Name : vuze
Command : vuze
เท่านี้เราก็จะมีโปรแกรมโหลดบิทที่ดูดีใช้งานง่าย
หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไวั ณ ที่นี่ด้วย
วันอังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
CentOS Linux เซิร์ฟเวอร์ทางเลือกสำหรับองค์กร
ในปัจจุบันซอฟต์แวร์สำหรับใช้ทำเป็นระบบ Intranet หรือ Internet Server ขององค์กรมีให้เลือกใช้งานหลายตัวด้วยกัน อาทิ เช่น Windows Server (Windows Server 2003, Windows Server 2008), Linux Server (RedHat, Fedora, CentOS, Ubuntu, Debian, Slackware, SuSE, Mandriva, OpenNA, IPCop, Linux-SIS), BSD Server (FreeBSD, OpenBSD, NetBSD), Solaris (Sun Solaris, OpenSolaris) เป็นต้น การที่จะเลือกระบบปฏิบัติการตัวใดมาทำเซิร์ฟเวอร์ใช้งานในองค์กรนั้น สำหรับ Admin มือเก๋าไม่น่าเป็นปัญหามากนักเพราะได้ทดสอบลองผิดลองถูกมาพอสมควร จะว่าไปแล้วในอดีตใครที่ติดตั้ง Linux และทำการคอนฟิกให้ระบบใช้งานผ่านได้ก็ถือว่าเก่งพอสมควร รวมทั้งหลังการติดตั้งเสร็จก็สามารถเปิดใช้งานได้ตามปกติ น้อยครั้งนักที่ระบบจะโดนแฮกซ์ แต่หากเป็น Admin น้องใหม่ในปัจจุบันการลองผิดลองถูกคงเป็นการยากแล้ว เนื่องจากปัจจุบันมีแฮกเกอร์ทั่วบ้านทั่วเมืองใครๆ ก็สามารถเรียนรู้วิธีการแฮกซ์ระบบเซิร์ฟเวอร์ผ่านเว็บ Google สำหรับ Admin น้องใหม่กว่าจะทดลองสำเร็จบางครั้งระบบโดนเจาะไปเรียบร้อยแล้ว
เนื่องจากปัจจุบันมีแฮกเกอร์ทั่วบ้านทั่วเมืองใครๆ ก็สามารถเรียนรู้วิธีการแฮกซ์ระบบเซิร์ฟเวอร์ผ่านเว็บ Google สำหรับ Admin น้องใหม่กว่าจะทดลองสำเร็จบางครั้งระบบโดนเจาะไปเรียบร้อยแล้ว
สำหรับบทความตอนนี้นับเป็นตอนแรกที่ผู้เขียนไปเปิดประเด็นในมุมของ Open Source ซึ่งผู้เขียนเองได้รับเชิญจากคุณสุวัจชัย บก. WindowsITPro ให้เขียนคอลัมป์นี้ ซึ่งเป็นคอลัมป์ที่พูดเรื่อง Open Source ล้วนๆ สำหรับเดือนนี้เป็นการแนะนำระบบปฏิบัติการเครือข่ายลีนุกซ์ที่ชื่อว่า CentOS โดยผู้เขียนได้แนะนำภาพรวมของระบบ รวมทั้งแนะนำแพ็กเกจยอดนิยมสำหรับนำไปใช้งานในองค์กร และส่วนสุดท้ายได้กล่าวถึงแนวทางในการติดตั้งระบบ CentOS ผู้เขียนคิดว่าขณะนี้หลายหน่วยงานใช้ระบบลีนุกซ์ตัวนี้อยู่ จากการสอบถามเพื่อนๆ ในวงการ Admin ได้คำตอบว่าหน่วยงานที่ใช้ระบบลีนุกซ์ตัวนี้มากที่สุดน่าจะเป็นศูนย์บริการ รับฝากเว็บไซต์หรือนิยมเรียกกันในชื่อ Web Hosting สำหรับองค์กรธุรกิจก็มีอยู่หลายองค์กรที่เบื้องหลังใช้ระบบลีนุกซ์ตัวนี้รัน อยู่ หลังจากอ่านบทความนี้แล้วผู้เขียนแนะนำให้ลองหาแผ่น CentOS มาทดสอบกันเพื่อจะได้เห็นผลลัพธ์อย่างแท้จริง เอาเป็นว่าเรามาทำความรู้จักเจ้าลีนุกซ์ตัวนี้กัน
วันอาทิตย์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2553
คู่มือสอนการติดตั้ง Ubuntu8.04+chilli+freeradius+Web ezradius

-การ ติดตั้ง Ubuntu 8.04
-การติดตั้ง DNS Server
-การติดตั้ง Chilli
-การติด ตั้ง Freeradius
-การติดตั้ง Mysql
-การติด ตั้ง Web Server Apache2
-การติดตั้ง PHP5
-การติด ตั้ง การติดตั้งโปรแกรม radiusContext
-การติดตั้งโปรแกรม squid
-การทํา Transparent proxy ดวย iptables
-การติดตั้ง Web ezradius ใชรวมกับ chillispot
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Ubuntu8.04+chilli+freeradius+Web ezradius
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2553
คู่มือสอนการติดตั้ง Fedora+Radius+Chilli+Prepai

-การ ติดตั้ง Fedora
-การติดตั้ง DNS Server
-การติดตั้ง Chilli
-การติด ตั้ง Freeradius
-การติดตั้ง Mysql
-การติด ตั้ง Web Server Apache2
-การติดตั้ง PHP5
-การติด ตั้ง การติดตั้งโปรแกรม radiusContext
-การติดตั้งโปรแกรม squid
-การทํา Transparent proxy ดวย iptables
-การติดตั้ง phpmyprepaid 0.4b3 ใชรวมกับ chillispot
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Fedora+Radius+Chilli+Prepai
วันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2553
คู่มือสอนการติดตั้ง NTP (Network Time Protocol)

-การติด ตั้ง โปรแกรม ntp บน Server
-ตรวจสอบ Remote Server ที่ตองการใชอางอิงฐานเวลา
-การแกไข คา configure
-ตรวจสอบ server อางอิง
-ตรวจ สอบการทํางานจาก Log file
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง NTP (Network Time Protocol)
คู่มือสอนการติดตั้ง DNS (Domain Name System)

-การติด ตั้ง DNS จาก XWindow
-การติด ตั้ง DNS จาก Shell prompt
-การติดตั้ง โปรแกรม Webmin
-การเซ็ต Reverse Master Zone
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง DNS (Domain Name System)
คู่มือสอนการติดตั้ง Clark Connect Community

-การติด ตั้ง แบบ PPPoE และ แบบ Static IP
-การติด ตั้ง Script การเชื่อมตอไดมากถึง 6 เสน
-การติด ตั้ง การบลอก Bittorrent ipp2p
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Clark Connect Community
คู่มือสอนการติดตั้ง LAMP (Linux Apache MySQL PHP)

-การติด ตั้ง Apache
-การติดตั้ง้ MySQL 5.0 Server
-การติดตั้ง PHP5
-การติด ตั้ง Vsftp
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง LAMP (Linux Apache MySQL PHP)
วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2553
คู่มือสอนการติดตั้ง Fedora

-การ ติดตั้ง Fedora
-การติดตั้ง SSH
-การติด ตั้ง Crontab
-การติดตั้ง DNS
-การติด ตั้ง Webserver-PHP-Mysql
-การติดตั้ง PhpMyAdmin
-การติดตั้ง PhpNukeThai
-การติดตั้ง Coppermine Photo Gallery
-การติดตั้ง Drupal CMS
-การติด ตั้ง Postfix Mail Server
-การติด ตั้ง NFS Server
-การติดตั้ง DHCP Server
-การติดตั้ง Squid Proxy Server
-การติดตั้ง Firewall
-การติด ตั้ง Sambe
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Fedora
วันศุกร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2553
คู่มือ WEB SEVER UBUNTU 9.10 KARMIC แบบ GUI GRAPHIC

-การติดตั้ง mysql50-server
-การติดตั้ง Apache22
-การติดตั้ง PHP5
-การติดตั้ง Web Server Apache2
-การติดตั้ง PHP5
-การติดตั้ง PhpMyadmin
-การติดตั้ง Drupal 6.15 CMS
-การ Config ADSL
-การติดตั้ง dyndns
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือ WEB SEVER UBUNTU 9.10 KARMIC แบบ GUI GRAPHIC
คู่มือสอนการติดตั้ง Ture Hotspot WiFi On Ubuntu

-การติด ตั้ง LAMP
-การติดตั้ง SSH Server
-การติด ตั้ง DNS Server
-การติดตั้ง Radius Server และ Database
-การติดตั้ง CoovaChilli
-การติดตั้ง Firewall
-การติดตั้ง SSL
-การติดตั้ง Module
-การสราง Virtualhost
-การติด ตั้ง Daloradius 0.9.8
-เพิ่มหนา login ของ Hotspot อย่าง TureSoft
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Ture Hotspot WiFi On Ubuntu
คู่มือสอนการติดตั้ง FreeBSD WebServer

-การ ติดตั้ง Compile Kernel เพื่อรองรับ Firewall และ Quota
-การ Update ports tree
-การติดตั้ง Firewall
-การทำ Quota
-การติดตั้ง mysql50-server
-การติดตั้ง Apache22
-การติดตั้ง PHP5
-การติดตั้ง Web Server Apache2
-การติดตั้ง PHP5
-การติดตั้ง PHP5-extensions
-การติดตั้ง Webmin
-การติดตั้ง PhpMyadmin
-การติดตั้ง Vsftp
-การติด ตั้ง Awstats
-การติดตั้ง Ntp
-การติดตั้ง Clamav
-การติด ตั้ง Hostsentry
-การติดตั้ง Portsentry
-การติดตั้ง Lynx
-การ ติดตั้ง Phpbb9 -การทํา Backup Web
-การติดตั้ง Denyhosts
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง FreeBSD WebServer
คู่มือสอนการติดตั้ง Authentication

-การติดตั้ง Ubuntu
-การติดตั้ง Chilli
-การติดตั้ง Freeradius
-การติดตั้ง Mysql
-การติดตั้ง Apache
-การติดตั้ง PHP
Download ได้ที่ Link ด้านล่าง
คู่มือสอนการติดตั้ง Authentication
วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553
Patch ภาษาไทยฉบับปรับปรุงสำหรับ KDE 4.2.2 และ 4.3.1
TLWG SVN
* kdelibs-4.3.1
* kdebase-4.3.1
และมี deb packages สำหรับ Ubuntu 9.04 (jaunty) และ 9.10 (karmic) ด้วยเพื่อใครจะลองด้วยความรวดเร็ว โดยดูดได้ที่ LTN Apt ครับ
ส่วน Qt 4.5.2 ลองแล้วก็ build ได้ไม่มีปัญหาอะไรครับ ด้วย patches เหล่านี้จะทำให้ภาษาไทยใช้งานได้ดี (input/output, ตัดคำ, konsole, kwrite) ซึ่ง patches เหล่านี้เกิดขึ้นในโครงการ Suriyan (หลักๆ โดยคุณ Golf MM และให้คำปรึกษาโดยคุณ thep) ของ SIPA ดู รายละเอียดงานพัฒนา
อนาคตของลีนุกซ์
เตรียมความพร้อมก่อนใช้ลีนุกซ์
1. หน่วยประมวลผลกลางของ Intel 80386 ขึ้นไป
2. หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ มีหรือไม่มีก็ได้ เพราะระบบปฏิบัติการ Red Hat Linux ได้มีการจำลอง หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ไว้ในระดับของ เคอร์เนล (Kernel) แล้ว
3. หน่วยความจำอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ แต่แนะนำให้มีอย่างน้อย 16 เมกะไบต์จะทำให้ระบบมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า
4. ฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 101 เมกะไบต์ สำหรับการติดตั้งแบบพื้นฐาน 266 เมกะไบต์ สำหรับการติดตั้งแบบทั่วไป และ 716 เมกะไบต์ สำหรับการติดตั้งแบบทั้งหมดตัวเลขที่ระบุทั้งหมดเฉพาะส่วนระบบปฏิบัติการ ถ้าต้องการใช้เป็น File Server หรือ Database Server จะ ต้องเผื่อเนื้อที่ไว้สำหรับใช้งานด้วย ส่วนแหล่งของโปรแกรมลีนุกซ์นั้นสามารถหาได้ฟรีตาม เว็บไซท์ เช่น www.linux.org/dist/ftp.html
สิ่งที่ควรทราบก่อนการติดตั้ง
1. คุณสมบัติของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง
* จำนวนของฮาร์ดดิสก็ที่ต้องการติดตั้ง
* ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ในการติดตั้ง
* ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่จะใช้ในการติดตั้ง IDE, EIDE หรือ SCSI
* มีการใช้ประเภทการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ หลายๆ ประเภทในเครื่องเดียวกันหรือไม่
2. ขนาดของหน่วยความจำหลัก เพื่อที่จะคำนวณหาขนาดของ Linux Swap Partition
3. ประเภทการเชื่อมต่อของเครื่องอ่านซีดีรอม IDE (ATAPI), SCSI
4. รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อ SCSI
5. รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
6. จำนวนปุ่มกด และประเภทเชื่อมต่อของเมาส์
7. รุ่นและยี่ห้อของแผงวงจรเชื่อมต่อจอภาพ รุ่นและยี่ห้อของจอภาพ
8. รายละเอียดการกำหนดโปรโตคอล TCP/IP ของเครื่องที่ต้องการติดตั้ง
* IP Address
* Net Mask
* GateWay Address
* Name Server Address
* Domain Name
* Host Name
การนำลีนุกซ์มาใช้งาน
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมประยุกต์ในสาขาต่างๆ อีกมากมาย โดยข้อมูลของโปรแกรมเหล่านี้ได้รวบรวมไว้ที่ Linux Software Map (LSM)